จำนวนการดูหน้าเว็บรวม

วันศุกร์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2552

น้ำหมักชีวภาพสูตรใหม่

ในการหมักน้ำหมักชีวภาพ เอาเปลือกผลไม้ที่
หมักแล้วครั้งหนึ่งมาใช้เป็นหัวเชื้อ

เพื่อทำให้ fermentation ผิดพลาดน้อยลง

ผลการทดลองพบว่าแต่ละสูตรเกิด fermentation
มั่นคง

น้ำหมักชีวภาพที่ได้มา จะนำไปทดลองประสิทธิภาพ













































































Science Day

เมื่อวันที่ 11 ส.ค. 2552 โรงเรียนรุ่งอรุณจัดงานวิทยาศสตร์
แต่ละห้องทำได้ดีมาก
















แสดงหยดน้ำของมัธยมต้น
















ฟ้าทะลายโจรกับพยากรณ์อากาศ












มี presentation หลายอย่าง น่าสนุก































อุดมสมบูรณ์ Eco toilet

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมตั้ง eco toilet ที่หลังอาคารสถาบันอาศรมศิลป์
เพื่อบำบัดน้ำเสียจากห้องส้วม

ระบบนี้ให้จุลินทรีย์ในดินย่อยอินทรีย์ในน้ำ
จึงทำให้ดินอุดมสมบูรณ์ด้วย

นี่คือผักต่างๆที่ได้มาจากแปลง Eco toilet
แตงกวาอร่อย หวานมากๆ























































































































































วันจันทร์ที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2552

แก้ปัญหาน้ำเสียในคลอง 4

หัวหน้าทีมทรัพยากร ฝ่ายสิ่งแวดล้อม คุณจักรชัย
ต้องการเสนอวิธีบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ในดิน

คุณจักรชัยจึงทดลองประสิทธิภาพในการบำบัดด้วยดิน





















นักเรียนก็ช่วย
















ทดลองย่อส่วนแล้ว ชั้นบนน้ำไม่แฉะ น้ำที่ล้นมาข้างล่าง
มีกลิ่นน้อย แสดงว่าไม่ผลกระทบต่อน้ำใต้ดิน
















ตอนนี้กำลังทดลองอยู่ ชุดที่ 2 คือ
ทดลองปริมาณน้ำที่ดินรับได้

















แก้ปัญหาน้ำเสียในคลอง 3

แก้ปัญหาต้นเหตุก็สำคัญ
น้องประสิทธิ์เป็นเจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อม
คิดน้ำหมักชีวภาพสูตรใหม่เพื่อบำบัดน้ำเสีย

ที่ผ่านมาฝ่ายสิ่งแวดล้อมทำน้ำหมักจากเปลือก
ผลไม้รสหวานเป็นส่วนใหญ่ เช่นสับปะรด มะระกอ
เมลอน ฯลฯ
















แต่สำหรับครั้งนี้เลือกวัตถุดิบหลากหลาย

นี่คือเปลือกผลไม้กับเศษผัก มีกลิ่นเปรี้ยว
เหมือนผักดอง































เปลือกทุเรียนมีกลิ่น alcohol แรงมาก
















จุลินทรีย์ในน้ำหมักทุเรียน
มีจุลินทรีย์หลากหลาย

แก้ปัญหาน้ำเสียในคลอง 2

(Idea นี้มาจากพี่ละม่อมฝ่ายสิ่งแวดล้อมทั้งหมด)

เพื่อที่จะปรับระดับน้ำในคลอง ฝ่ายสิ่งแวดล้อม
จึงตั้งประตูเปิดปิด แต่ปิดน้ำไม่ค่อยสนิท และ
บริหารยาก
















จึงใช้กระสอบทรายปิดคลองและเมื่อต้องการเปิด
น้ำก็จะยกกระสอบทราย
















ตอนนี้ตั้งกระสอบทรายปิด-เปิดคลองตรงหลังโรง
แยกขยะและตรงสะพานเข้าอาคารห้อง IT














































นอกจากนี้ ฝ่ายสิ่งแวดล้อมทำช่องผักตบชวาเพื่อ
บำบัดน้ำหลังอาคารอนุบาล





















เมื่อเวลาฝนตกและระดับน้ำสูงขึ้น
เสากั้นผักตบชวาก็จะสูงขึ้นโดยอัตโนมัติ

แก้ปัญหาน้ำเสียในคลอง 1

หลายๆคนทราบกันว่าโรงเรียนรุ่งอรุณเป็นโรงเรียนที่
สวยงานมาก รักษาสิ่งแวดล้อมได้ดี
















แต่ไม่ใช่ว่าไม่มีปัญหาสิ่งแวดล้อมเลย
ยังมีปัญหาน้ำเสียในคลอง
ปัญหานี้มีสาเหตุ 2 อย่างคือ

1. น้ำเสียดำๆ มาจากข้างนอก
2. ระบบบำบัดน้ำในโรงเรียนยังไม่สมบูรณ์

จึงส่งกลิ่นเหม็น

เพราะฉะนั้นพวกเราตัดสินใจแล้วว่าแก้ปัญหา
เฉพาะหน้ากับต้นเหตุไปด้วยกัน ก็คือ

1. ปรับระดับน้ำ: เวลาน้ำดำมากเข้ามาก็ทำให้น้ำบึงเรา
เข้าในคลอง เพื่อทำให้น้ำดำเจือจางและเหม็นน้อยลง
เมื่อรัดับน้ำข้างนอกลดลงก็ให้ปล่อยน้ำดำออกไป

เพราะฉะนั้น ฝ่ายสิ่งแวดล้อมตั้งประตูปรับระดับน้ำ
















และตั้งตาข่ายดักขยะด้วย














วิธีแก้ปัญหานี้ทั้งหมดมาจากพี่ละม่อม ฝ่ายสิ่งแวด
ล้อม

วันอาทิตย์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2552

โครงงานฟ้าทะลายโจร

นักเรียนมัธยมปลาย 2 คนกำลังทำ project เกี่ยวกับฟ้าทะลายโจร

ฟ้าทะลายโจรเป็นสมุนไพรที่คนไทยใช้มานานแล้ว คนไทยเชื่อกันว่า
ฟ้าทะลายโจรสามารถแก้หวัด ท้องร่วง ฯลฯ






















นักเรียนก็เลยคิด project ขึ้นมาว่า
1. ฟ้าทะลายโจรยับยั้งเชื้อ bacteria ได้หรือไม่
2. ทดสอบประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อ bacteria ระหว่าง
ใบสด ใบแห้งและ capsule สกัดด้วยตัวละลาย 95% Ethanol
น้ำปล่าวหรือเหล้าขาว


















ผลการทดลองพบว่า extract บางอย่างสามารถยับยั้งเชื้อ
bacteria ได้
(ยังไม่เปิดเผยว่าตัวไหนยับยั้งได้ดีเพราะทำรายงานยังไม่เสร็จ)


Staphylococcus aureus





















Escherichia coli





















ปฏิบัติ project นี้สนับสนุนโดย

สายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ขอบคุณมากครับ

วันพฤหัสบดีที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2552

กระถางต้นไม้ Carbon positive

โรงเรียนรุ่งอรุณมีต้นไม้หลากหลายนานาชนิด
แต่ยังมีการสร้างเศษกิ่งไม้ที่จำนวนไม่น้อย เพราะ
มีต้นไม้ตายบ้าง ลิดกิ่งไม้บ้างหรือมีกิ่งไม้หักเพราะลมแรง

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมนำกิ่งไม้พวกนี้ไปเผาถ่านหรือกิ่งที่ใช้ไม่ได้
ก็ต้องเอาไปเผา

แต่ถึงแม้ว่าเผาถ่านหรือเผากิ่งไม้ก็ยังเป็น Carbon neutral อยู่
(แต่ไม่ใช่ Carbon negative)

ทำอย่างไรทำให้เศษกิ่งไม้พวกนี้เป็น Carbon positive

นี่คือคำตอบหนึ่ง เครื่อประดับ "กระถางต้นไม้" ซึ่งพวกคุณลุง
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมทำหลังเลิกงาน






























ถ้าเกิดใส่ต้นไม้ก็จะเป็นอย่างนี้ สวยมาก