"shanti yamaguchi" is japanese npo which is counter part of thai ngo "sikka asia". they have been supporting a life of hill tribe villagers in northern thailand. mr. teruo saeki, director of "shanty yamaguchi", designed "eco toilet" to improve the life of villagers. many "eco toilets" have already been installed in the villages.
"สันติยะมะงุจิ"เป็นมูลนิธิญี่ปุ่นที่สนับนุนมูลนิธิสิกขาเอเซียที่อยูคลองเตย เพื่อช่วยเหลือชาวเขา นายเทรุโอะ ซะเอกิเป็นกรรมการบริหารของสันติยะมะงุจิและผู้ประดิษฐ์"ห้องน้ำชีวภาพ"และได้ติดตั้งห้องน้ำชีวภาพหลายๆที่ในหมู่บ้านแล้ว
mr.saeki's eco toilet make importance on effective use of resources. it even gathers methane gas from first anaerobic reactor and use it for cooking (only some toilets). after most of bacteria were killed and some organic matters might be decomposed in the next septic tanks, the septic water rich of organic matter permeate fields. microorganisms in the soil degrade the organic matter into compost to grow vegetables.
ห้องน้ำชีวภาพของคุณซะเอกิมีประสิทธิภาพสูงในการใช้ทรัพยากร แม้กระทั่งก๊าซมีแทนที่เกิดจากการย่อยอุจจาระก็ยังเก็บไว้ให้ใช้ในการทำอาหาร(ตั้งระบบนี้เฉพาะบางแห่ง) จากนั้นผ่านถังแบบไร้อากาศหรือ anaerobic tank 2-3 ถังแล้ว เชื้อโรคก็แทบจะไม่เหลือและได้ย่อยสารอินทรีย์บ้าง น้ำที่สารอินทรีย์ยังเหลืออยู่ได้ซึมเข้าไปในแปลงผัก ซึ่งเป็นระบบแบบใช้อากาศหรือ aerobic system และได้ย่อยเป็นปุ๋ยหมัก ผักในแปลงห้องน้ำชีวภาพงามและอร่อยมาก
this excellent and simple water treatment system works effectively by anaerobic-aerobic microorganisms collaboration without electricity or any other energies.
ห้องน้ำชีวภาพนี้เป็นระบบบำบัดน้ำที่ประสิทธิภาพสูงและเป็นระบบที่ใช้ทั้ง anaerobic กับ aerobic โดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้าและพลังงานทั้งสิน
why mr.saeki could create such a fantastic system? i think his idea were from "spirits of taking care of things" that all japanese had ever had before. the effective utilization of waste water to make gas and vegetables. dr.wangari maathai, nobel peace prize winner and environmental activist, were still impressed with our "mottainai" spirits.
ทำไมคุณซะเอกิถึงคิดออกระบบแบบนี้ได้ อาจจะเป็นเพราะคนญี่ปุ่นมี "จิตใจไม่เปลือง" แม้กระทั่งน้ำเสียจากห้องน้ำก็ยังไม่ทิ้งและสร้างพลังงานกับผักด้วยซำ้ไป ดร.วังการี มาไท ซึ่งเป็นนักวิชาการ นักต่อสู่ด้านสิ่งแวดล้อมและได้รับรางวัลโนเบล ยังชื่นชมจิตใจ "mottainai หรือเสียดายของ"ของเรา
the other excellence of the project is to build all eco toilets by mr.saeki and villagers. so all of them can learn how to make it by themselves. this project is managed directly by local residents. what is a carefully and warmly project it is!
จุดเด่นของห้องน้ำชีวภาพของคุณซะเอกิอีกจุดหนึ่งคือคุณซะเอกิกับชาวบ้านช่วยกันสร้างห้องน้ำ เพื่อชาวบ้านได้เรียนรู้วิธีการสร้างห้องน้ำด้วยตนเองเป็นด้วย เป็นโครงการที่ละเอียด อบอุ่นและชาวบ้านจึงเป็นเจ้าของโครงการนี้ได้
eco toils also has educational aspects to improve "spirits of taking care of things" and transmit to "next generation". dr. makoto owhashi's paper is going to be published on "japanese association for international health", march 2012.
ดร.มะโกโตะ โอฮะชิจากมหาวิทยาลัยโตกุชิมะได้เขียนบทความทางวิชาการเรื่องด้านการศึกษาของห้องน้ำชีวภาพ ซึ่งมีทั้ง"ไม่เปลืองของ"และ"การถ่ายทอดสู่คนรุ่นต่อไป" ในวารสาร "japanese association for international health", มี.ค. 2555
heart comes first for science and technology.
"nuclear power plants" are huge monster created by scientific technology without "heart". 1 year past, still far from under control.
ทั้งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต้องมี"น้ำใจ"เป็นอันดับแรก
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เป๋นสิ่งประหลาดที่เกิดมาจากวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ไร้"น้ำใจ" จึงยังไม่เห็นทางออก แม้แต่นิดเดียว
nuke is bigger than eco toilet. but i would like you to see the difference of "heart for science and technology" between "mr.saeki's eco toilets and nukes".
โรงนิวเคลียร์ใหญ่กว่าห้องน้ำชีวภาพของคุณซะเอกิหลายพันเท่า แต่ผมอยากให้ทุกคนเห็นความแตกต่าง"น้ำใจ"ระหว่างโรงนิวเคลียร์ใหญ่กว่าห้องน้ำชีวภาพของคุณซะเอกินะครับ